| | |

ตัวอย่าง Digital Workplace ด้วย Gamification Platform

ตัวอย่าง Digital Workplace ด้วย Gamification Platform

1 ใน Key driver ของการทำ Digital Workplace คือการสร้างความตื่นรู้ใน Digital Disruption (literacy) และการ Digitizations Workplace
– การสร้างความตื่นรู้ใน Digital Disruption สามารถสร้างได้โดยการวาง Roadmap การสื่อสารในองค์กร (Internal Communicate) ด้าน Digital Disruption, ด้าน Business Model ใหม่ๆที่เกิดขึ้นจาก Technology
– การ Digitisation Workplace คือการใช้ Technology, หรือ Tool Digital ต่างๆมาลดขั้นตอน /( Process )การทำงานการขออนุมัติ งานเอกสารต่างๆ เป็นต้น

โดยทั้งการสร้าง Literacy และการ Digitisation Workplace ต่างๆ สิ่งที่สำคัญคือ
1.มีช่องทางการสื่อสาร(Channel)
2.การวัดผลได้ (Evaluate)
3.การตอบแทนชมเชย ( recognition & reward)
4.การสร้างการมีส่วนร่วม (engagement)

สำหรับการวางแผนการสร้าง Gamification มีขั้นตอนดังนี้
1. Analysis Existing Situation
2. Define Business Benefit & Key Achievement
3. กำหนด Framework, Machanic ต่างๆเช่น
– ระบบ Point currency
– วิธีการ Reward
– การเพิ่มการมีส่วนร่วมผ่านกิจกรรม Offline
4. การ Convince ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ผู้บริการระดับสูง, Sponsorship, Partner
5. การวางแผนการ Deploy Tool/Platform
6. การออกแบบ KPI เพื่อ Analyze กลยุทธ์ทุกๆ Quater หรือรายปีเพื่อปรับ Tactic

ตัวอย่าง Platform “Sansanook”

Digital Transformation Workplace

Step1. Analysis Existing Situation

ปัญหาเรื่องช่องทางการ Engagement

  • ช่องทางการสื่อสารจำกัดแค่ Email, Poster
  • Email = ลูกเล่นน้อย, รูปแบบเดิม, ใช้ระยะเวลาการผลิตชิ้นงาน
  • Offline Poster = Track พฤติกรรมไม่ได้อย่างละเอียด
  • ไม่ได้เก็บ feedback หรือ insight กลับไปให้เจ้าของแคมเปญ
  • ใช้และการสื่อสารแบบ 1 message to all ทำให้การสื่อสารอาจจะไม่ตรงกับทุกกลุ่ม
  • มี Engagement, Participate ต่ำ


ปัญหาเรื่องการ Recognition

  • มีช่องว่างระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ปฎิบัติงาน
  • พนักงานมีหลาย Generation, Lifestyle แตกต่างกัน ทำให้เกิด Generation Gap
  • พนักงานแต่ละ generation มีความต้องการ (Self need) ไม่เหมือนกัน

Step2. Define Business Benefit & Key Achievement

  • กระตุ้นให้พนักงานใช้ Technology เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน (Digital Transformation)
  • เครื่องมือสามารถสื่อสารได้แบบ Real-time
  • Personalize ข้อความได้ตาม role งาน, ตามแผนกหรือตามภูมิภาค
  • เข้าถึงข่าวสารได้สะดวกผ่าน Smartphone เช่น Android, iPhone
  • สามารถสื่อสาร และ feedback กลับได้ 2 ทาง (Two way Communication)
  • เก็บ feedback/survey จากพนักงาน เพื่อทราบ insight ความต้องการของพนักงานอย่างแท้จริง
  • ทีมการตลาดสามารถทำ Product research เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคก่อน Launch ได้
  • สามารถสร้างสรรค์รูปแบบกิจกรรมให้แตกต่างมีสีสัน และน่าสนใจได้มากยิ่งขึ้น
  • มีการ motivation, recognition กันเองระหว่างพนักงานผ่าน Thank you Point

Step3. กำหนด Framework, Machanic ต่างๆ
Benefit สำหรับฝ่ายบุคคล HR

1. ให้ Extra gift สำหรับพนักงานที่่มาทำงานไม่สายเลยตลอดเดือน
2. ให้ Point สำหรับพนักงานที่ผ่าน Probation
3. ให้ Point สำหรับพนักงานที่ไปร่วมงาน Event ของบริษัท (Check in ผ่าน APP)
พนักงานสามารถ recognize กันเองระหว่างพนักงานได้โดย
1. ส่ง Thank you point หากันได้ทุกวัน
2. โอน point ของตัวเองให้เพื่อนในทีมได้
3. Point pooling รวมคะแนนกันเพื่อแลกของรางวัลใหญ่ได้

ตัวอย่างการกำหนด Working Team, และขอบเขตการรับผิดชอบ

การ Educate พนักงานตาม Stage
1. ส่งข้อมูลที่มีประโยชน์สำหรับพนักงานใหม่ (on-boarding contents)
2. ส่งข้อมูลที่มีประโยชน์แยกตาม Job functional

การเก็บ Insight พนักงาน
ส่ง Greeting message ได้ตาม Life’s event ต่างๆเช่น
– ข้อความอวยพรวันเกิด
– ข้อความแสดงความยินดีที่ผ่านโปร
– ข้อความแสดงความยินดีที่ครบรอบการทำงานทุกปี
– ส่ง Personalize Survey เพื่อเก็บ Insight พนักงานได้
ตาม demographic, Location , ตามประเภทสัญญาจ้าง, ตาม Ranking เช่น VP, Manager

ตัวอย่างหน้าจอการสะสม Point, แลกPoint

gamification

4. การ Convince ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ผู้บริการระดับสูง, Sponsorship, Partner
– การนำเสนอผู้บริหารระดับสุง เพื่อ Top-Down ในกรณีทีมีการต้องเปลี่ยนวิธีการ Operationงาน

5. การ Deploy Tool/Platform
– การ Research เครื่องมือที่มีอยู่แล้ว
– ใช้ Software as a service หรือสร้างเอง DIY

ตัวอย่างการ Research Pro/Con ของ MarTech ที่มีคามสามารถด้าน Gamification ต่างๆ

research saas

6. การ Analyze ทุกๆ Quater รายปีเพื่อปรับกลไก
การวัด Engagement ต่างๆ ด้วยเครื่องมือ Data Visualize เช่น Google Analytic , Tableau

ติดต่อขอรับคำปรึกษาด้าน Marketing และ Technology

  • ให้คำปรึกษาตั้งแต่การวาง Technology Roadmap
  • การเลือกเครื่องมือที่ตอบโจทย์ธุรกิจที่สุด
  • การวาง Data Foundation ให้รองรับสเกลของธุรกิจ
  • การ Implement Platform อย่างมีระบบ
  • การทำ Change Management และการติดตามการ Adoption
  • ควบคุมการบริหารโครงการด้วยผู้มีประสบการณ์ตรง
  • รับจำนวนจำกัดไม่เกิน 2 Projects / เดือน
Line: baron66
Email : [email protected]


ติดตาม Marketing Tech Thailand ใน Social Media ได้ที่
🔥 Facbook Page : Marketing Tech Thailand
🔥 Facebook Group : Marketing Tech Thailand – Group
📺 Youtube : Marketing Tech Thailand
🌎 Linkedin Group (Global Community) : Marketing Tech Community in Thailand

Jittipong Loespradit
Add me

Similar Posts