Jay Baer four data buckets model

วัดผล Content Marketing Metricด้วย Jay Baer’s 4 data “buckets” model

Jay Baer’s (เจย์ แบร์) นักเขียน New York Times best-selling  นักการตลาดได้ออกแบบ Framework การวัดผลการทำ Content Marketing ด้วย 4 data “buckets” model 

โดยเค้าแนะนำเรื่อง 4 types of content marketing metrics หรือ 4 รูปแบบการวัดผลการทำคอนเทนต์ มาร์เก็ตติ้งได้แก่
1. Consumption Metric เพื่อตอบคำถามว่า มีกี่คนที่เข้าถึงคอนเทนต์ของเรา?
การวัดผลในระดับ Analytic ที่เราวัดได้จาก  Google Analytics, YouTube หรือ Content Distribution อื่นๆ ได้แก่
– การวัดจำนวน Pageview
– จำนวนการ Download เอกสารต่างๆเช่น Whitepaper, E-Book
– จำนวน VDO Views ในช่องทางต่างๆ

marketing funnel shape of glass

Marketing Funnel : Shape of Glass

ตอนนี้กำลังพยายาม researchว่า ถ้าเปรียบ Marketing Funnel เป็น Shape of Glass จะมีกี่รูปแบบ โดย

– แกนX คือจำนวน Audience ทั้งหมดใน Stage นั้นๆ
– แกน Y คือจำนวนวันที่ Audience อยู่ในแต่ละ Stage

เพื่ออยากหา Industry Benchmark และ assume ว่ามีความเป็นไปได้แค่ไหนที่ industry เดียวกัน จะมี Marketing Funnel : Shape of Glass ไม่เหมือนกัน

ใครสนใจอยากแชร์ข้อมูลให้ผม สามารถกรอก Assessment ได้ที่แบบฟอร์มนี้นะครับ

การ Personalization at Scale ด้วย 4Ds จาก Mckinsey

การ Personalization at Scale ด้วย 4Ds จาก Mckinsey

Mckinsey เสนอว่า 4Ds ที่จะช่วยขับเคลื่อน Personalization @ Scale ได้นั้น ต้องขึ้นอยู่กับ ability ขององค์กรนั้นๆได้ 4Dต่อไปนี้คือ

1. Data

สิ่งที่สำคัญคือ การ unify customer data จากทุกๆ platform

2. Decisioning

การมี decisioning engine โดยใช้ machine learning หรือ AI models เพื่อจะตัดสินใจในการสร้างข้อเสนอ หรือส่ง Personalization Experience ได้เลย ไม่ต้องรอนักการตลาดไปเขียน Rule-Based / Trigger ดักไว้แบบเดิม

3. Design

ในระดับนี้จำนวน Experiment ที่เกิดขึ้นจะทวีคูณ เป็นร้อยหรือพันรูปแบบตาม Micro-Segmentation

เราไม่สามารถเตรียม Material ของ Creative หรือ Content ต่างๆ ทำเป็น version เช่น A1, A2, B1, B2 รอในระบบได้อีกแล้ว

เราต้องแยก Content / Design เป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อให้ระบบ mixed and matched กันบน repository เช่น DAM Digital asset management หรือ creative optimization platform เช่น Adobe Creative Cloud

4. Distribution

ในระดับนี้โดยเฉพาะธุรกิจที่เป็น Omni การ Personalization @ Scale จะต้องทะลุทะลวงไปทุกๆช่องทางได้เช่น

SiriusDecisions

Marketing Automation ทำให้ธุรกิจ B2B จัดการ Sale funnel ดีขึ้นได้อย่างไร

Marketing Automation ทำให้ธุรกิจ B2B จัดการ Sale funnel ดีขึ้นได้อย่างไร

SiriusDecisions บริษัท วิจัยและให้คำปรึกษา กลุ่มธุรกิจ B2B เสนอเรื่อง Sale funnel ไว้ว่า
โดยทั่วๆไปธุรกิจ B2B จะมี usual b-to-b scenario แบบสีแดงด้านซ้ายคือ
– ไม่มีกระบวนการ Lead nurturing
– หรือไม่มีกระบวนการ Lead qualification
กระบวนการนี้จะปล่อยให้ Lead 80% ไหลเข้ามาที่ Sale โดยตรง ทำให้ Sale ต้องรับภาระ Lead 100% ที่เข้ามา ทั้ง qualified และ unqualified (ไม่พร้อมปิดการขาย) ทำให้เป็นการใช้ Resource Sale อย่างไม่เหมาะสม ทำให้ถึงที่สุดแล้ว scentario นี้ Sale จะปิดได้แค่ 1Deal จาก 417 inquery ที่วิ่งเข้ามา

Amazon aws

Personalization Marketing คืออะไร ตัวอย่าง Rules-based, Journey-based, และ Machine Learning

Personalization marketing คือการสร้างประสบการณ์ที่หลากหลาย ทั้งการสื่อสารข้อความแบบ Dynamic , การปรับรูปแบบบริการ (Service) ให้เหมาะสมกับ segmentation ต่างๆของลูกค้า หรือการปรับInterface, Layout ของ Frontend ต่างๆ และแม้แต่การนำเสนอสินค้าที่ลูกค้าน่าจะสนใจ (Related items) ก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำ Personalization marketing

Business model canvas และ Value Proposition คืออะไร

Business model canvas และ Value Proposition คืออะไร

สำหรับเนื้อหาตอนแรก ขอปูพื้นเกี่ยวกับ BMC (Business Model Canvas) ดังนี้ครับ
Alex เกริ่นเกี่ยวกับ Business Model Innovation ว่ามีรูปแบบ Innovation หลักๆ 3 แบบ

Efficiency   คือการเน้นที่การปรับ Business Process หรือ Embrace technology เพื่อเพิ่มประสิทธิผล
Sustaining  คือการใช้ Marketing, Technology เพื่อรักษาสมดุลธุรกิจ
Growth คือการสร้าง Business model และ Value Proposition ใหม่แทนที่ของเดิม

Business Success Formula ง่ายๆที่ Alex ใช้คือ
Success = (Right) Value Proposition + (Right) Business Model + (Right) Execution

และBusiness Model Canvas หรือ เครื่องมือเขียน Model ธุรกิจที่เล่าเรื่องจบในกระดาษแผ่นเดียว ซึ่ง Model ที่ว่านี้ ถูกพัฒนาและคิดค้นโดยคุณ Alex Osterwalder นั่นเอง โดยใน Canvas ประกอบด้วยช่องต่างๆดังนี้

tecnology-selection

ตารางการเลือก MarTech ให้เหมาะสม และFactor สำคัญในการ Implementation

การวาง Strategy ในการเลือกและ Implement Marketing Technology ใหม่ๆ
เชื่อว่าหลายๆคน ที่กำลังจะตัดสินใจเลือกMarketing Technolog มาช่วยในการบริหารจัดการแคมเปญ หรือวัดผลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยหลายๆคนอาจจะมีคำถามมากมายเรื่อง
– การวัดความคุ้มค่าของระบบ
– มี Factor ไหนบ้างที่ต้องระวังหรือใส่ใจเป็นพิเศษในการเลือก Marketing Technolog
– การเปลี่ยนผ่าน Change/Transformation ที่สำคัญ
– จะกำหนด business goals หรือการตั้งคำถามด้านการตลาดแบบไหนดี
– จะเลือก Marketing Technolog stack อย่างไรให้เหมาะสมกับรูปแบบกิจกรรมทางการตลาดที่เราทำอยู่ และเหมาะสมหรือเกื้อหนุนในการทำการตลาดในอนาคต
การ Map กิจกรรมทางการตลาด, การวัดผล เพื่อดูความต้องการของเทคโนโลยี

5 Growth Hack Strategy เพื่อช่วยเร่ง Platform เราให้โตได้เร็ว

5 Growth Hack Strategy เพื่อช่วยเร่ง Platform เราให้โตได้เร็ว

Digital Platform Tactics เนื่องจากการสร้างแพลตฟอร์มดิจิทอล นอกจากความยุ่งยากด้านเทคโนโลยีแล้ว สิ่งที่ยุ่งยากกว่าคือการสร้าง Adoption ให้คนเข้ามาใช้งานจนถึงจุดพลิกผัน (critical mas) ของแพลตฟอร์มนั้นๆ

Digital Transformation
|

Digital Transformation ไม่ใช่เรื่องของ Technology

จากการสำรวจความคิดเห็นผู้บริหารทั่วโลกโดย Wall Street Journal เรื่อง Risk Factor ในการดำเนินธุรกิจของปี 2019หัวข้อที่ได้รับความกังวลเป็นอันดับ 1 คือ Digital Transformation (DT)
ทั้งนี้จากการเริ่มต้น(initiative & pilot) DT ขององค์กรต่างๆทั่วโลกในปี 2018ทั้งหมด มี 70% ตอบว่าที่ยังรู้สึกห่างไกลจาก Goal ที่ตั้งไว้…

โดยพื้นฐาน ส่วนใหญ่ DT เป็นเรื่องการเพิ่มประสิทธิผลของสินค้าและบริการ และเป็นเรื่องของการเข้าถึงและเข้าใจCustomer ….ถ้าผู้คนยังไม่มี Mindset ที่ดีพอเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยน (change) Technology ที่นำเข้ามาจะเปรียบเสมือนแว่นขยายข้อบกพร่องต่างๆ (magnify the flaws)

Digital Transformation คืออะไร 4 Steps สำคัญในการ Roadmap องค์กร
| | |

Digital Transformation คืออะไร 4 Steps สำคัญในการ Roadmap องค์กร

1. Digital Transformation คืออะไร 

Digital transformation  คือการนำเทคโนโลยี เข้าไปช่วยธุรกิจทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านปฎิบัติการณ์ (operation) ด้านการส่งมอบประสบการณ์ที่ดีแก่ลูกค้า (deliver better customers experience)  การเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานในองค์กร (Corporate culture) การทดลองรูปแบบธุรกิจใหม่ๆ (Experiment new business model)  เพื่อท้าทายความสำเจ็จเดิมๆ (challenge the status quo) และการยอมรับในความล้มเหลวเพื่อจะเรียนรู้ (Failure culture)

ตัวอย่าง Digital Workplace ด้วย Gamification Platform
| | |

ตัวอย่าง Digital Workplace ด้วย Gamification Platform

1 ใน Key driver ของการทำ digital Transformation คือการสร้างความตื่นรู้ใน Digital Disruption (literacy) และการ Digitisation Working Process โดย
– การสร้างความตื่นรู้ใน Digital Disruption สามารถสร้างได้โดยการวาง Roadmap การสื่อสารในองค์กร (Internal Communicate) ด้าน Digital Disruption, ด้าน Business Model ใหม่ๆที่เกิดขึ้นจาก Technology
– การ Digitisation Working Process คือการใช้ Technology, Tool Digital ต่างๆมาลดขั้นตอน / Process การทำงานการขออนุมัติ งานเอกสารต่างๆ
โดยทั้งการสร้าง Literacy และการ Digitisation Working ต่างๆ สิ่งที่สำคัญคือมีช่องทางการสื่อสาร(Channel) การวัดผลได้ (Evaluate) การตอบแทนชมเชย ( recognition & reward) การสร้างการมีส่วนร่วม (engagement){:}{:en}1 ใน Key driver ของการทำ digital Transformation คือการสร้างความตื่นรู้ใน Digital Disruption (literacy) และการ Digitisation Working Process โดย
– การสร้างความตื่นรู้ใน Digital Disruption สามารถสร้างได้โดยการวาง Roadmap การสื่อสารในองค์กร (Internal Communicate) ด้าน Digital Disruption, ด้าน Business Model ใหม่ๆที่เกิดขึ้นจาก Technology
– การ Digitisation Working Process คือการใช้ Technology, Tool Digital ต่างๆมาลดขั้นตอน / Process การทำงานการขออนุมัติ งานเอกสารต่างๆ
โดยทั้งการสร้าง Literacy และการ Digitisation Working ต่างๆ สิ่งที่สำคัญคือมีช่องทางการสื่อสาร(Channel) การวัดผลได้ (Evaluate) การตอบแทนชมเชย ( recognition & reward) การสร้างการมีส่วนร่วม (engagement)

Digitization : from Call centre to Contact Centre 4.0
| |

Digitization : from Call centre to Contact Centre 4.0

{:th}ทำไมเราต้องปรับ Call centre แบบดั้งเดิม สู่ Contact Center 4.0 ?
– พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป ( Customer’s behavior change )
– User Exprerience คาดหวังการทำงานแบบ Seamless
– ช่องทางการสื่อสารหลากหลาย ทั้ง Email, Chat, Social media ( Multiple channels engagement)
– เก็บข้อมูลของลูกค้าได้หลากหลายมิติมากขึ้น ทั้ง Demo-graphic และ Interest (360 customer’s view)- สามารถทำงานได้แบบ Multi task ไม่ต่อรอจบกระบวนการในแต่ละ case ( Asynchronous communication )
– นำเสนอสินค้า บริการได้ หลากหลายให้เหมาะสมกับ segmentation
– ความรวดเร็วในการบริการเป็น Key-successful ในยุคนี้
– ลูกค้ายุคใหม่มีความคาดหวังให้ องค์กรนั้นๆสื่อสารผ่านช่องทางที่ลูกค้าสะดวก (Prefer channel)
– ใช้ AI technology เข้ามาช่วย Automate และ Routing Case ต่างๆไปหา Agent ได้ง่าย{:}{:en}Reason why we must shift from tradition call centre to Call centre4.0 ?
– Customer’s behavior was change from exponential technology growth & mobile domination.
– New User Exprerience mindset form Digital native generation
– They expect seamless aftersale service
– Multiple channels engagement such as.. Email, Chat, Social media
– CRM cloud & Data integration will improve aftersale service
– Customer data 360 views
– Multi Tasking skill
– Rise of AI & Chat bot technology{:}

กรณีศึกษา ธุรกิจที่ Digital transformation แล้วประสบความสำเร็จ
|

กรณีศึกษา ธุรกิจที่ Digital transformation แล้วประสบความสำเร็จ

เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ และจุดประกายให้ผู้บริหารองค์กรใหญ่ๆ หันมาให้ความสำคัญกับ Digital transformation ผมเลยเรียบเรียงกรณีศึกษาในองค์กรระดับโลก ที่ประสบความสำเร็จมาให้ทุกท่านทำความเข้าใจครับ

ก่อนอื่นผมขอเกริ่นถึงเป้าหมายสำคัญ (Ultimate Goal) การ transformation มักจะแบ่งได้เป็น 4 รูปแบบใหญ่ๆดังนี้
1. Improve digital customer experience
– เพื่อเพิ่ม Brand Loyalty
– รายได้ (revenues)
– ประสิทธิภาพการผลิต (productivity)
– การซื้อซ้ำ Cross sale, Up sale
2. Streamline business processes เพื่อ
– ปรับปรุงกระบวนการทำงานในองค์กร (seamless process)
– ลดต้นทุนการผลิต(Cost reduction)
– เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานระหว่างคู่ค้าและพันธมิตรทางธุรกิจ(supply-chain & partners integration)
3. Optimize infrastructure and operations.
– เพื่อลดความซับซ้อนในการทำงาน (reduce complexity)
– สามารถคำนวนปัญหา (Predictive) หรือ Crisis ล่วงหน้า(solve issues before occur)
– ควบคุมการใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Control over assets)
4. Gain insights from analytics to make better decisions
– ใช้ Data ในการตัดสินใจได้ชัดเจน (Data-driven Decision)
– ทั้งองค์กรมี KPI ร่วมกัน (Break KPI silo)